เยี่ยมไปเลย! ต่อภาษีรถ ไม่ต้องไปขนส่งแล้ว เพียงเข้าเว็บและทำตามนี้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว
ถือว่าเป็นข่าวดีสำหรับคนที่ไม่ค่อยมีเวลานะคะหรือเวลากลับนั้นก็ค่ำไปแล้วนี่คืออีกหนึ่งทางเลือกของคุณที่จะไปต่อภาษีรถ โดยไม่ต้องเดินทางไปขนส่งให้ยุ่งยากเสียเวลา แถมเป็นวิธีที่เร็วและสะดวกกว่าอีกด้วย รายละเอียดเป็นยังไงนั้นไข่เจียวว่าไปดูกันเลยจ้า
ทำตามวิธีนี้เลยจ้า
1.เข้าเว็บไซค์ www.dlte-serv.in.th หรือ www.dlt.go.th
2.ลงทะเบียนเพื่อขอรับรหัสผ่าน
3. กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับรถ
4. เลือกต่อภาษี
*** สิ่งที่ต้องใช้กรอก: เลขที่ของ พรบ. ที่ไม่หมดอายุ *** (ถ้ารถเกิน 7 ปีต้องตรวจสภาพด้วย)
5. เลือกจ่ายตังได้เบย มันจะบวกค่าส่ง ems 40 บาท ช่องทาง
– หักผ่าน บช (มีแค่ 3 ธนาคาร)
– ตัดบัตรเครดิต (ชาท 2%)
– พิมพ์ใบแจ้งชำระภาษีรถแล้วนำไปชำระ ณ เคาน์เตอร์หรือตู้ ATM ของธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ
– บริการชำระด้วยบัตรเครดิตออนไลน์ ได้แก่ ธ.กรุงเทพ และ ธ.กรุงศรีอยุธยา * ที่เคาน์เตอร์ธนาคารบริการ ได้แก่ ธ.กรุงไทย , ธ.กรุงเทพ , ธ.ธนาชาต , ธ.ก.ส ,ธ.ไทยธนาคาร , ธ.กรุงศรีอยุธยา , ธ.ทหารไทย , บริษัทเคาน์เตอร์เซอร์วิส ชำระที่ตู้ ATM ได้แก่ ธ.กรุงไทย , ธ.ธนาชาต , ธ.กรุงเทพ , ธ.ทหารไทย
– กรมการขนส่งทางบก จะส่งใบเสร็จรับเงิน เครื่องหมายแสดงการเสียภาษี และ กรมธรรม์ พ.ร.บ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ให้ผู้ชำระเงินทางไปรษณีย์
หลังจากนั้นรอไม่เกิน 7 วัน ป้ายภาษีของเราก็จะเดินทางมาถึงว้าวง่ายๆเลยจ้า เพิ่มเติมเราสามารถต่อล่วงหน้าได้ 3 เดือนนะจ๊ะ
เป็นไงบ้างค่ะวิธีง่ายๆสำหรับคนที่มีเวลาน้อยแค่เสียเวลาในการกรอกข้อมูลเพียงน้อยนิดเท่านั้นเราก็ได้ใบภาษีมาแล้วจ้า
ที่มา…kaijeaw.com ขอขอบคุณที่มาจาก: กรมการขนส่งทางบก
ถือว่าเป็นข่าวดีสำหรับคนที่ไม่ค่อยมีเวลานะคะหรือเวลากลับนั้นก็ค่ำไปแล้วนี่คืออีกหนึ่งทางเลือกของคุณที่จะไปต่อภาษีรถ โดยไม่ต้องเดินทางไปขนส่งให้ยุ่งยากเสียเวลา แถมเป็นวิธีที่เร็วและสะดวกกว่าอีกด้วย รายละเอียดเป็นยังไงนั้นไข่เจียวว่าไปดูกันเลยจ้า
ทำตามวิธีนี้เลยจ้า
1.เข้าเว็บไซค์ www.dlte-serv.in.th หรือ www.dlt.go.th
2.ลงทะเบียนเพื่อขอรับรหัสผ่าน
3. กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับรถ
4. เลือกต่อภาษี
*** สิ่งที่ต้องใช้กรอก: เลขที่ของ พรบ. ที่ไม่หมดอายุ *** (ถ้ารถเกิน 7 ปีต้องตรวจสภาพด้วย)
5. เลือกจ่ายตังได้เบย มันจะบวกค่าส่ง ems 40 บาท ช่องทาง
– หักผ่าน บช (มีแค่ 3 ธนาคาร)
– ตัดบัตรเครดิต (ชาท 2%)
– พิมพ์ใบแจ้งชำระภาษีรถแล้วนำไปชำระ ณ เคาน์เตอร์หรือตู้ ATM ของธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ
– บริการชำระด้วยบัตรเครดิตออนไลน์ ได้แก่ ธ.กรุงเทพ และ ธ.กรุงศรีอยุธยา * ที่เคาน์เตอร์ธนาคารบริการ ได้แก่ ธ.กรุงไทย , ธ.กรุงเทพ , ธ.ธนาชาต , ธ.ก.ส ,ธ.ไทยธนาคาร , ธ.กรุงศรีอยุธยา , ธ.ทหารไทย , บริษัทเคาน์เตอร์เซอร์วิส ชำระที่ตู้ ATM ได้แก่ ธ.กรุงไทย , ธ.ธนาชาต , ธ.กรุงเทพ , ธ.ทหารไทย
– กรมการขนส่งทางบก จะส่งใบเสร็จรับเงิน เครื่องหมายแสดงการเสียภาษี และ กรมธรรม์ พ.ร.บ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ให้ผู้ชำระเงินทางไปรษณีย์
หลังจากนั้นรอไม่เกิน 7 วัน ป้ายภาษีของเราก็จะเดินทางมาถึงว้าวง่ายๆเลยจ้า เพิ่มเติมเราสามารถต่อล่วงหน้าได้ 3 เดือนนะจ๊ะ
เป็นไงบ้างค่ะวิธีง่ายๆสำหรับคนที่มีเวลาน้อยแค่เสียเวลาในการกรอกข้อมูลเพียงน้อยนิดเท่านั้นเราก็ได้ใบภาษีมาแล้วจ้า
ที่มา…kaijeaw.com ขอขอบคุณที่มาจาก: กรมการขนส่งทางบก