กุมารแพทย์แนะนำ แค่เอาผ้าชุบน้ำมาพันขาเด็กที่มีไข้แค่ 20 นาที ผลลัพธ์ออกมาเกินคาดมาก พ่อ-แม่ต้องบอกต่อ
หลายคนเข้าใจว่า เวลาเด้กเป็นใข้ หน้าผากเป็นจุดเดียวที่สามารถเอาผาชุบน้ำวางลดไข้ได้ แต่แท้จริงแล้ว เราสามารถเอาผ้าชุบน้ำหมาดๆ พันขาของลูกน้อยแทนก็ได้ วันนี้ทีมงานสยามนิวส์ ของแนะนำวิธีที่หลายคนยังไม่รู้ และใช้กันมานานแล้วในต่างประเทศ ซึ่งมีการแชร์กันเยอะมาก มาฝากกัน นั่นก็“ผ้าพันขาลดไข้ หนึ่งในวิธีที่กุมารแพทย์ชาวเยอรมันแนะและเป็นที่นิยมใช้ในครอบครัว ใช้ตัวลดไข้ลูก ในกรณีที่เด็กไม่ได้มีอาการไข้สูง ซึ่งบอกต่อกันมาว่ามันได้ผลดีมาก”
กุมารแพทย์เมืองนอกแนะใช้ ผ้าพันขาลดไข้ ลูกไข้ลดอย่างได้ผล ไม่ต้องกินยาเยอะ ส่วนใหญ่เวลาลูกเป็นไข้ โดยทั่วไปก็คือการนำผ้ามาชุบน้ำเพื่อเช็ดตัวให้ไข้ลูกลดลง หรือหาแผ่นเจลมาแปะไว้บนหน้าผาก แต่สำหรับพ่อแม่ชาวตะวันตกส่วนใหญ่ หากลูกมีอาการเป็นไข้ ป่วย ไม่สบาย ถ้าพบว่ามีอาการไม่ได้รุนแรงมาก มักจะพยายามหาวิธีแก้ไขหรือรักษากันเองก่อน หนึ่งในวิธีนั้นคือการใช้ผ้ามาพันขาเพื่อลดไข้ลูก ที่พ่อแม่ชาวเยอรมันนิยมทำกัน
“ใช้ผ้าพันขาลดไข้” วิธีนี้ไม่ใช่การรักษาแบบพื้นบ้าน แต่เป็นวิธีที่มีคุณหมอรับรองว่าเป็นการทำให้ “เหงื่อออกเพื่อลดไข้” โดยใช้หลักการนำความร้อนออกจากร่างกายด้วย “น้ำ” เช่นเดียวกับวิธีการใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่น ๆ มาเช็ดตัว เพื่อช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ช่วยกระจายความร้อน จนถึงสามารถช่วยลดไข้ได้
วิธีการคือ ใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำร้อน (ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิร่างกาย) ให้เปียก แล้วบีบหมาดมาพันรอบน่องของลูกที่มีไข้ ทิ้งไว้ประมาณ 20 นาทีแล้วเอาออก กุมารแพทย์ Qingjun ระบุว่า การเอาผ้ามาพันขาจะช่วยทำให้ระบบหมุนเวียนโลหิตทำงานดีขึ้น ขณะที่ผ้าค่อย ๆ เย็นลง ผ้าขนหนูก็จะซับเอาความร้อนออกไปจากร่างกาย สามารถช่วยลดอุณหภูมิร่างกายได้ ซึ่งเป็นวิธีที่ชาวเยอรมันนิยมใช้กันเกือบทุกบ้าน
ทั้งนี้ที่ประเทศเยอรมันจะมีกุมารแพทย์ทำการเปิดคลาสสอนพ่อแม่ในการดูแลลูกน้อยที่บ้าน ก่อนที่มาพบแพทย์ เช่น การจัดการกับอาการหวัดเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือกรณีที่ลูกมีไข้อ่อน ๆ ซึ่งวิธีการนี้ไม่เพียงแต่ชลออาการของเด็กก่อนถึงโรงพยาบาลไม่ให้หนักมากยิ่งขึ้น แต่ยังช่วยลดภาระค่ารักษาพยาบาลของแต่ละครอบครัวลงได้อีกด้วย
นอกจากการเช็ดตัวเพื่อลดไข้แล้ว คุณแม่อาจนำวิธีนี้ไปลองใช้ดูกันนะคะ แต่ที่แน่ ๆ อยากให้มีคลาสสอนพ่อแม่ในการดูแลหรือปฐมพยาบาลเบื้องต้นกับลูกน้อยแบบนี้บ้างจัง
credit content : th.theasianparent.com
และ http://www.deethojai.com/2017/12/20_10.html
หลายคนเข้าใจว่า เวลาเด้กเป็นใข้ หน้าผากเป็นจุดเดียวที่สามารถเอาผาชุบน้ำวางลดไข้ได้ แต่แท้จริงแล้ว เราสามารถเอาผ้าชุบน้ำหมาดๆ พันขาของลูกน้อยแทนก็ได้ วันนี้ทีมงานสยามนิวส์ ของแนะนำวิธีที่หลายคนยังไม่รู้ และใช้กันมานานแล้วในต่างประเทศ ซึ่งมีการแชร์กันเยอะมาก มาฝากกัน นั่นก็“ผ้าพันขาลดไข้ หนึ่งในวิธีที่กุมารแพทย์ชาวเยอรมันแนะและเป็นที่นิยมใช้ในครอบครัว ใช้ตัวลดไข้ลูก ในกรณีที่เด็กไม่ได้มีอาการไข้สูง ซึ่งบอกต่อกันมาว่ามันได้ผลดีมาก”
กุมารแพทย์เมืองนอกแนะใช้ ผ้าพันขาลดไข้ ลูกไข้ลดอย่างได้ผล ไม่ต้องกินยาเยอะ ส่วนใหญ่เวลาลูกเป็นไข้ โดยทั่วไปก็คือการนำผ้ามาชุบน้ำเพื่อเช็ดตัวให้ไข้ลูกลดลง หรือหาแผ่นเจลมาแปะไว้บนหน้าผาก แต่สำหรับพ่อแม่ชาวตะวันตกส่วนใหญ่ หากลูกมีอาการเป็นไข้ ป่วย ไม่สบาย ถ้าพบว่ามีอาการไม่ได้รุนแรงมาก มักจะพยายามหาวิธีแก้ไขหรือรักษากันเองก่อน หนึ่งในวิธีนั้นคือการใช้ผ้ามาพันขาเพื่อลดไข้ลูก ที่พ่อแม่ชาวเยอรมันนิยมทำกัน
“ใช้ผ้าพันขาลดไข้” วิธีนี้ไม่ใช่การรักษาแบบพื้นบ้าน แต่เป็นวิธีที่มีคุณหมอรับรองว่าเป็นการทำให้ “เหงื่อออกเพื่อลดไข้” โดยใช้หลักการนำความร้อนออกจากร่างกายด้วย “น้ำ” เช่นเดียวกับวิธีการใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่น ๆ มาเช็ดตัว เพื่อช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ช่วยกระจายความร้อน จนถึงสามารถช่วยลดไข้ได้
วิธีการคือ ใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำร้อน (ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิร่างกาย) ให้เปียก แล้วบีบหมาดมาพันรอบน่องของลูกที่มีไข้ ทิ้งไว้ประมาณ 20 นาทีแล้วเอาออก กุมารแพทย์ Qingjun ระบุว่า การเอาผ้ามาพันขาจะช่วยทำให้ระบบหมุนเวียนโลหิตทำงานดีขึ้น ขณะที่ผ้าค่อย ๆ เย็นลง ผ้าขนหนูก็จะซับเอาความร้อนออกไปจากร่างกาย สามารถช่วยลดอุณหภูมิร่างกายได้ ซึ่งเป็นวิธีที่ชาวเยอรมันนิยมใช้กันเกือบทุกบ้าน
ทั้งนี้ที่ประเทศเยอรมันจะมีกุมารแพทย์ทำการเปิดคลาสสอนพ่อแม่ในการดูแลลูกน้อยที่บ้าน ก่อนที่มาพบแพทย์ เช่น การจัดการกับอาการหวัดเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือกรณีที่ลูกมีไข้อ่อน ๆ ซึ่งวิธีการนี้ไม่เพียงแต่ชลออาการของเด็กก่อนถึงโรงพยาบาลไม่ให้หนักมากยิ่งขึ้น แต่ยังช่วยลดภาระค่ารักษาพยาบาลของแต่ละครอบครัวลงได้อีกด้วย
นอกจากการเช็ดตัวเพื่อลดไข้แล้ว คุณแม่อาจนำวิธีนี้ไปลองใช้ดูกันนะคะ แต่ที่แน่ ๆ อยากให้มีคลาสสอนพ่อแม่ในการดูแลหรือปฐมพยาบาลเบื้องต้นกับลูกน้อยแบบนี้บ้างจัง
credit content : th.theasianparent.com
และ http://www.deethojai.com/2017/12/20_10.html