มหัศจรรย์! เพียงคุณแบบนี้ทุกวัน ปอดคุณจะแข็งแรง แถมช่วยแก้หืดหอบเป็นหวัดง่ายอีกด้วย
การบำบัดโรคโดย “ตีลัญจกร”
“ตีลัญจกร” คือการบำบัดและป้องกันโรค โดยใช้การ กด รัด พับ เชื่อมจุดต่างๆ บนฝ่ามือ ดังนั้นเราจึงสามารถใช้ “ตีลัญจกร” ได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นตอนเช้า ช่วงเวลาระหว่างรถติด ระหว่างการประชุม แม้กระทั่งก่อนนอน ซึ่งถ้าเราทำต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอติดต่อกัน เป็นประจำประมาณ 2 สัปดาห์ก็เริ่มเห็นผล
ข้อควรระวังในการฝึก “ตีลัญจกร”
1. ไม่ควรฝึกในขณะที่อิ่ม หรือหิวจัด เมาค้าง หรืออดนอน
2. ควรใส่เสื้อผ้าที่สบาย ไม่รัด
3. ควรฝึกแต่ละครั้งอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 15 นาที แต่ไม่เกิน 30 นาที
4. เพื่อให้เกิดผลควรฝึกอย่างต่อเนื่องประมาณ 2 สัปดาห์
ตีลัญจกร : ท่าบำรุงอวัยวะภายใน
ท่าที่ 1 บริหารลำไส้ใหญ่ (แก้ท้องผูก)
คว่ำมือใช้แนวนิ้วชี้ถึงนิ้วโป้ง โค้งเป็นรูปตัว C ทั้งสองข้าง กระทบกันเบาๆ 36 ครั้ง
ท่าที่ 2 บริหารลำไส้เล็ก (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ)
หงายมือให้แนวนิ้วก้อยถึงสันมือกระทบกันเบา ๆ 36 ครั้ง
ท่าที่ 3 บริหารเยื่อหุ้มหัวใจ (ขี้หนาว)
ตั้งมือทั้งสองข้างขึ้น หงายมืออกเป็นรูปดอกบัวแล้วใช้ข้อมือกระทบกันเบาๆ 36 ครั้ง
ท่าที่ 4 สร้างภูมิต้านทานโรค (แก้ภูมิแพ้)
กางนิ้วมือทั้งสองข้างออกแล้วสอดเข้าให้มีเสียดังฉึบ บีบนิ้วมือทั้งสองข้างเล็กน้อยแล้วดึงออก ทำ 36 ครั้ง
ท่าที่ 5 บริหารปอดซ้ายขวา (แก้หืดหอบ เป็นหวัดง่าย)
กางมือซ้ายออกไม่ต้องเกร็ง แล้วใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือขวาหนีบแล้ว กดเบาๆ ตรงกลางระหว่างนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือของมือซ้าย นับ36 ครั้ง และสลับข้างทำอีก 36 ครั้ง
ท่าที่ 6 บริหารกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง (แก้เหนื่อยง่าย)
กำมือขวาและกางมือซ้ายออก จากนั้นให้เอาสันหมัดต่อยเบาๆ กลางอุ้งมือซ้าย ไม่ให้มีเสียง นับ 36 ครั้ง และ สลับข้าง นับอีก 36 ครั้งเช่นเดียวกัน
ท่าที่ 7 บริหารไตขวาและไตซ้าย (ปวดเอว ปวดหัวเข่า ปัสสาวะบ่อย ไตทำงานผิดปกติ)
หงายมือขวาขึ้น มือซ้ายคว่ำลง ใช้หลังมือขวาตีบนหลังมือซ้ายเบาๆ ทำ 36 ครั้ง และสลับข้างทำนับ 36 ครั้งเช่นเดียวกัน
ท่าที่ 8 กระตุ้นเส้นลมปราณ (เปิดจุดรับพลังซ้าย-ขวา)
กางมือซ้ายออก จากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือขวาหมุนตามเข็มนาฬิกา รอบจุดเล่ากง (กำมือแล้วสังเกตจุดตรงบริเวณปลายนิ้วกลาง) คลึงเบาๆ 36 รอบ และสลับข้างนับอีก 36 รอบเช่นเดียวกัน
ชมคลิปตัวอย่างท่าต่างๆ
ข้อมูลจาก…อายุยืนดอทคอม และ http://www.bablog.mju.ac.th/jamnian/?page_id=259
การบำบัดโรคโดย “ตีลัญจกร”
“ตีลัญจกร” คือการบำบัดและป้องกันโรค โดยใช้การ กด รัด พับ เชื่อมจุดต่างๆ บนฝ่ามือ ดังนั้นเราจึงสามารถใช้ “ตีลัญจกร” ได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นตอนเช้า ช่วงเวลาระหว่างรถติด ระหว่างการประชุม แม้กระทั่งก่อนนอน ซึ่งถ้าเราทำต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอติดต่อกัน เป็นประจำประมาณ 2 สัปดาห์ก็เริ่มเห็นผล
ข้อควรระวังในการฝึก “ตีลัญจกร”
1. ไม่ควรฝึกในขณะที่อิ่ม หรือหิวจัด เมาค้าง หรืออดนอน
2. ควรใส่เสื้อผ้าที่สบาย ไม่รัด
3. ควรฝึกแต่ละครั้งอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 15 นาที แต่ไม่เกิน 30 นาที
4. เพื่อให้เกิดผลควรฝึกอย่างต่อเนื่องประมาณ 2 สัปดาห์
ตีลัญจกร : ท่าบำรุงอวัยวะภายใน
ท่าที่ 1 บริหารลำไส้ใหญ่ (แก้ท้องผูก)
คว่ำมือใช้แนวนิ้วชี้ถึงนิ้วโป้ง โค้งเป็นรูปตัว C ทั้งสองข้าง กระทบกันเบาๆ 36 ครั้ง
ท่าที่ 2 บริหารลำไส้เล็ก (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ)
หงายมือให้แนวนิ้วก้อยถึงสันมือกระทบกันเบา ๆ 36 ครั้ง
ท่าที่ 3 บริหารเยื่อหุ้มหัวใจ (ขี้หนาว)
ตั้งมือทั้งสองข้างขึ้น หงายมืออกเป็นรูปดอกบัวแล้วใช้ข้อมือกระทบกันเบาๆ 36 ครั้ง
ท่าที่ 4 สร้างภูมิต้านทานโรค (แก้ภูมิแพ้)
กางนิ้วมือทั้งสองข้างออกแล้วสอดเข้าให้มีเสียดังฉึบ บีบนิ้วมือทั้งสองข้างเล็กน้อยแล้วดึงออก ทำ 36 ครั้ง
ท่าที่ 5 บริหารปอดซ้ายขวา (แก้หืดหอบ เป็นหวัดง่าย)
กางมือซ้ายออกไม่ต้องเกร็ง แล้วใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือขวาหนีบแล้ว กดเบาๆ ตรงกลางระหว่างนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือของมือซ้าย นับ36 ครั้ง และสลับข้างทำอีก 36 ครั้ง
ท่าที่ 6 บริหารกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง (แก้เหนื่อยง่าย)
กำมือขวาและกางมือซ้ายออก จากนั้นให้เอาสันหมัดต่อยเบาๆ กลางอุ้งมือซ้าย ไม่ให้มีเสียง นับ 36 ครั้ง และ สลับข้าง นับอีก 36 ครั้งเช่นเดียวกัน
ท่าที่ 7 บริหารไตขวาและไตซ้าย (ปวดเอว ปวดหัวเข่า ปัสสาวะบ่อย ไตทำงานผิดปกติ)
หงายมือขวาขึ้น มือซ้ายคว่ำลง ใช้หลังมือขวาตีบนหลังมือซ้ายเบาๆ ทำ 36 ครั้ง และสลับข้างทำนับ 36 ครั้งเช่นเดียวกัน
ท่าที่ 8 กระตุ้นเส้นลมปราณ (เปิดจุดรับพลังซ้าย-ขวา)
กางมือซ้ายออก จากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือขวาหมุนตามเข็มนาฬิกา รอบจุดเล่ากง (กำมือแล้วสังเกตจุดตรงบริเวณปลายนิ้วกลาง) คลึงเบาๆ 36 รอบ และสลับข้างนับอีก 36 รอบเช่นเดียวกัน
ชมคลิปตัวอย่างท่าต่างๆ
ข้อมูลจาก…อายุยืนดอทคอม และ http://www.bablog.mju.ac.th/jamnian/?page_id=259