ไปหามากินด่วน! ผักบุ้งแดง ผักบุ้งนา แก้อัลไซเมอร์ ถอนพิษ ล้างสารพิษฟอร์มาลีน
ป้องกันอัลไซเมอร์ ถอนพิษ บำรุงสายตา แก้ผิดสำแดง แก้โรคตา แก้ตกขาวในสตรี ล้างสารพิษฟอร์มาลีน
ชื่อเรียนแต่ละท้องถิ่น
ผักทอดยอด (กรุงเทพฯ) ผักบุ้งไทย (กลาง) ผักบุ้ง (ทั่วไป) ผักบุ้งแดง ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนา กำจร(ฉานขแม่ฮ่องสอน) ผักบุ้ง ผักบุ้งแดง ผักบุ้งนา กำจร โหนเดาะ
คนไทยมักจะไม่รู้ของดีที่เรามี เคยสงสัยไหมครับว่าทำไมคนสมัยก่อนต้องเอาผักบุ้งมาจิ้มน้ำพริก ทำไมไม่เอาคะน้า จริงๆแล้วคนสมัยก่อนเค้าก็ลองผิดลองถูกเหมือนกัน แต่เค้าก็คนพบสรรพคุณของผักบุ้งเช่นกัน จึงได้สืบทอดให้ลูกหลานต่อๆกันมา
แต่ด้วยการใช้ชีวิตของคนไทยเปลี่ยนไป ไม่ค่อยกินน้ำพริก ส้มตำเหมือนเมื่อก่อน และผักก็มีสารเคมีมากเหลือเกิน คนเราจึงกินผักน้อยลง วันนี้จะมาเล่าเรื่องผักบุ้ง ให้ฟัง กำละ 3 - 5 บาท แต่ป้องกันโรคที่จะต้องใช้ยารักษาเป็นแสนๆ
ชื่ออื่นๆ : ผักทอดยอด ผักบุ้ง ผักบุ้งแดง ผักบุ้งนา กำจร โหนเดาะ
ชื่อสามัญ : Swamp cabbge, Swamp cabbage white stem, Water morning glory
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ipomoea aquatica Forsk.
วงศ์ : Convolvulaceae
ถิ่นกำเนิด : ประเทศไทย
ลักษณะทั่วไป : ไม้ล้มลุกมีข้อโปร่งเลื้อยแผ่ไปตามพื้นหรือผิวน้ำ
การขยายพันธุ์ : เพาะเมล็ด ลำต้นแก่มีรากติด
และยังมีบางแห่งเชื่อกันว่า ผักบุ้ง สามารถขับสารพิษ ล้างสารพิษฟอร์มาลีน โลหะหนัก
แพทย์แผนไทยได้นำวิชาจาก อ.สุทธิวัสส์ คำภา ไปทำการผลิตชาผักบุ้งแดง เพื่อล้างสารพิษ จนผ่านการทดสอบจาก อ.สุทธิวัสส์ คำภา ว่ามีผลบำบัดผู้มีสารพิษตกค้างได้จริง ผลิตจาก ผักบุ้งแดงตากแห้ง และ อบด้วยความร้อน, น้ำตาลทรายแดง
หมายเหตุ : ชาผักบุ้งล้างพิษ ล้างความร้อน ทำให้ร่างกายเย็น หากดื่มแล้ว รู้สึกว่าในกายเย็นเกินไป ขี้หนาว ขอให้ดื่มน้ำขิงตาม
ในทางโภชนาการผักบุ้งยังมีสารสำคัญอื่นๆ นอกเหนือจากวิตามินเอที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย อาทิ แคลเซียม วิตามินซี เส้นใยอาหาร คาร์โบไฮเดรต เหล็ก ฟอสฟอรัส มากน้อยแตกต่างกันไป
ใน ทางการแพทย์แผนไทย ระบุว่า ผักบุ้งมีรสเย็น มีสรรพคุณถอนพิษสำแดงต่างๆ หรือช่วยในการขับสารพิษอออกจากร่างกายได้ หมอแผนไทยบางท่านแนะให้นำมาใช้ในการขับพิษสำหรับเกษตรกรที่ใช้สารเคมีทางการ เกษตร ซึ่งจะได้รับสารพิษอันตราย หรือใช้ในการบำบัดรักษาผู้ป่วยติดยาเสพติด ในกรณีนี้อาจใช้กับตัวยาอื่นๆ ตามตำรับของหมอแต่ละคนเพื่อช่วยขับพิษและฤทธิ์ของยาเสพติด หรือในกรณีที่กินสารพิษ กินเห็ดพิษ ร่างกายได้รับสารตะกั่ว สารหนู โดยแนะให้เอาผักบุ้งแดงต้มเอาน้ำดื่มเป็นประจำ
สรรพคุณ ของผักบุ้งช่วยในการขับสารพิษออกจากร่างกาย โดยเฉพาะผักบุ้งแดง ที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยกินกันเพราะมีรสเฝื่อน จึงนิยมนำไปกินกับส้มตำมะละกอ คนในเมืองที่ชีวิตต้องเผชิญกับมลพิษในอากาศ อาหาร ลองเอาผักบุ้งแดงมาทำเป็นชาไว้ดื่มเพื่อช่วยขับสารพิษจากร่างกายก็น่าจะ เหมาะไม่น้อย หรือใช้ผักบุ้งต้มอาบ หรืออบร่วมกับสมุนไพรตัวๆ ก็จะช่วยขับพิษออกทางรูขุมขน
ส่วนกรณีที่ใครท้องผูกเป็นประจำขับถ่ายไม่ออก แนะให้กินผักบุ้งสดหรือผักบุ้งลวก จิ้มกับน้ำพริก ในมื้อเย็น ส่วนน้ำต้มผักก็สามารถใช้ดื่มได้ ผักบุ้งจะช่วยให้อุจจาระนิ่ม และช่วยขับของเสียพร้อมดูดซับเอาของเสียนั้นออกมาพร้อมในกระบวนการขับถ่าย ด้วย กินผักบุ้งเป็นประจำจะช่วยปัดกวาดทำความสะอาดเอาของเสียที่ตกค้างในลำไส้ออก มาด้วย ช่วยให้การดูดซึมอาหารดีขึ้น
สรรพคุณส่วนต่างๆ ของผักบุ้ง คือ ราก ใช้ถอนพิษ แก้ผิดสำแดง แก้โรคตา แก้ตกขาวในสตรี
แก้ปวดฟันเนื่องจากฟันเป็นรู แก้ไอเรื้อรัง แก้เหงื่อออกมาก แก้บวม ถอนพิษ แก้พาเบื่อเมา ถอนพิษยาทั้งปวง แก้ตาฟาง แก้โรคตา ยอดอ่อน ถอนพิษ รักษาริดสีดวงทวาร แก้เด็กเป็นหวัด ใบ แก้พิษขนของบุ้ง รักษาริดสีดวงทวาร ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้ตาฟาง แก้พิษฝี ปวด อักเสบ ดอกตูม รักษากลากเกลื้อน ทั้งต้น รักษาตาแดง รักษาตาฟาง รักษาตามัว แก้เบาหวาน แก้ปวดศีรษะ แก้ผิวหนังผื่นคัน แก้กลากเกลื้อน เป็นยาระบาย แก้ไข้ แก้โรคนอนไม่หลับ ถอนพิษ แก้พิษเบื่อเมา
- แก้เลือดกำเดาออกมากผิดปกติ ใช้ต้นสดตำผสมน้ำตาลทรายชงน้ำร้อนดื่ม
- แก้หนองใน ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด ใช้ลำต้นตำคั้นนำน้ำมาผสมกับน้ำผึ้งดื่ม
- แก้ริดสีดวงทวาร ใช้ต้นสด 1 กิโลกรัม กับน้ำ 1 ลิตร ต้มให้เละ เอากากทิ้งใส่น้ำตาลทรายขาว 120 กรัม เคี่ยวให้ข้นเหนียว ทานครั้งละ 90 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น จนหาย
- แก้แผลมีหนองช้ำ ใช้ต้นสดต้มน้ำให้เดือดนานๆ ทิ้งไว้พออุ่นเอาน้ำล้างแผลวันละครั้ง
- แก้พิษตะขาบกัด ใช้ต้นสดเติมเกลือ ตำพอกแผล
- ฟันเป็นรูปวด ใช้รากสด 120 กรัม ผสมน้ำส้มสายชู คั้นนำน้ำอมบ้วนปาก
ดอก ใช้เป็นยาแก้กลากเกลื้อน ต้นสด ใช้ดับพิษ รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ลดอาการแพ้ อักเสบ ปวด บวม บำรุงสายตา บำรุงเลือด บำรุงกระดูกและฟัน ช่วยรักษาโรคเบาหวาน เป็นยาดับร้อน แก้ปัสสาวะเหลือง
ทั้งต้น ใช้แก้ปวดหัว อ่อนเพลีย แก้กลาก เกลื้อน แก้เบาหวาน แก้ตาอักเสบ บำรุงสายตา แก้เหงือกบวม แก้ฟกช้ำ ถอนพิษ
ใบ ใช้ถอนพิษแมลงสัตว์กัดต่อย นำใบสดตำ คั้นเอาน้ำมาดื่ม จะทำให้อาเจียน ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้พิษของฝิ่นและสารหนู มีวิตามินเอสูง เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
ราก ใช้แก้ไอเรื้อรัง และแก้โรคหืด ถอนพิษผิดสำแดง ใช้แก้สตรีมีตกขาวมาก เบาขัด เหงื่อออกมาก ลดอาการบวม
ในผักบุ้งขาว 100 กรัม ให้พลังงานต่อร่างกาย 22 กิโลแคลอรี่ และยังประกอบด้วยเส้นใย 101 กรัม แคลเซียม 3 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 22 มิลลิกรัม เหล็ก 3 มิลลิกรัม วิตามินเอ 11,447 IU วิตามินบีหนึ่ง 0.06 มิลลิกรัม วิตามินบีสอง 0.17 มิลลิกรัม ไนอาซิน 1.3 มิลลิกรัม วิตามินซี 14 มิลลิกรัม และมีสารต้านฮีสตามีน
ผักบุ้งไทยจะมีสรรพคุณทางยามากกว่าผักบุ้งชนิดอื่น ผักบุ้งจีนจะมีแคลเซี่ยม และเบต้า - แคโรทีน มากกว่าผักบุ้งชนิดอื่น
2. http://www.yimwhan.com/board/show.php?user=kraimasphimol&topic=74&Cate=1
3. http://www.bloggang.com
4. Tem Samitinand. Thai Plant Names. Revised Edition 2001. 810 p.
รวบรวมโดย : นพพล เกตุประสาท หน่วยอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พืชพรรณ ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม
ที่มา...http://banya-thai.blogspot.com/2012/12/blog-post.html
ป้องกันอัลไซเมอร์ ถอนพิษ บำรุงสายตา แก้ผิดสำแดง แก้โรคตา แก้ตกขาวในสตรี ล้างสารพิษฟอร์มาลีน
ชื่อเรียนแต่ละท้องถิ่น
ผักทอดยอด (กรุงเทพฯ) ผักบุ้งไทย (กลาง) ผักบุ้ง (ทั่วไป) ผักบุ้งแดง ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนา กำจร(ฉานขแม่ฮ่องสอน) ผักบุ้ง ผักบุ้งแดง ผักบุ้งนา กำจร โหนเดาะ
คนไทยมักจะไม่รู้ของดีที่เรามี เคยสงสัยไหมครับว่าทำไมคนสมัยก่อนต้องเอาผักบุ้งมาจิ้มน้ำพริก ทำไมไม่เอาคะน้า จริงๆแล้วคนสมัยก่อนเค้าก็ลองผิดลองถูกเหมือนกัน แต่เค้าก็คนพบสรรพคุณของผักบุ้งเช่นกัน จึงได้สืบทอดให้ลูกหลานต่อๆกันมา
แต่ด้วยการใช้ชีวิตของคนไทยเปลี่ยนไป ไม่ค่อยกินน้ำพริก ส้มตำเหมือนเมื่อก่อน และผักก็มีสารเคมีมากเหลือเกิน คนเราจึงกินผักน้อยลง วันนี้จะมาเล่าเรื่องผักบุ้ง ให้ฟัง กำละ 3 - 5 บาท แต่ป้องกันโรคที่จะต้องใช้ยารักษาเป็นแสนๆ
ชื่ออื่นๆ : ผักทอดยอด ผักบุ้ง ผักบุ้งแดง ผักบุ้งนา กำจร โหนเดาะ
ชื่อสามัญ : Swamp cabbge, Swamp cabbage white stem, Water morning glory
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ipomoea aquatica Forsk.
วงศ์ : Convolvulaceae
ถิ่นกำเนิด : ประเทศไทย
ลักษณะทั่วไป : ไม้ล้มลุกมีข้อโปร่งเลื้อยแผ่ไปตามพื้นหรือผิวน้ำ
การขยายพันธุ์ : เพาะเมล็ด ลำต้นแก่มีรากติด
และยังมีบางแห่งเชื่อกันว่า ผักบุ้ง สามารถขับสารพิษ ล้างสารพิษฟอร์มาลีน โลหะหนัก
แพทย์แผนไทยได้นำวิชาจาก อ.สุทธิวัสส์ คำภา ไปทำการผลิตชาผักบุ้งแดง เพื่อล้างสารพิษ จนผ่านการทดสอบจาก อ.สุทธิวัสส์ คำภา ว่ามีผลบำบัดผู้มีสารพิษตกค้างได้จริง ผลิตจาก ผักบุ้งแดงตากแห้ง และ อบด้วยความร้อน, น้ำตาลทรายแดง
หมายเหตุ : ชาผักบุ้งล้างพิษ ล้างความร้อน ทำให้ร่างกายเย็น หากดื่มแล้ว รู้สึกว่าในกายเย็นเกินไป ขี้หนาว ขอให้ดื่มน้ำขิงตาม
ในทางโภชนาการผักบุ้งยังมีสารสำคัญอื่นๆ นอกเหนือจากวิตามินเอที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย อาทิ แคลเซียม วิตามินซี เส้นใยอาหาร คาร์โบไฮเดรต เหล็ก ฟอสฟอรัส มากน้อยแตกต่างกันไป
ใน ทางการแพทย์แผนไทย ระบุว่า ผักบุ้งมีรสเย็น มีสรรพคุณถอนพิษสำแดงต่างๆ หรือช่วยในการขับสารพิษอออกจากร่างกายได้ หมอแผนไทยบางท่านแนะให้นำมาใช้ในการขับพิษสำหรับเกษตรกรที่ใช้สารเคมีทางการ เกษตร ซึ่งจะได้รับสารพิษอันตราย หรือใช้ในการบำบัดรักษาผู้ป่วยติดยาเสพติด ในกรณีนี้อาจใช้กับตัวยาอื่นๆ ตามตำรับของหมอแต่ละคนเพื่อช่วยขับพิษและฤทธิ์ของยาเสพติด หรือในกรณีที่กินสารพิษ กินเห็ดพิษ ร่างกายได้รับสารตะกั่ว สารหนู โดยแนะให้เอาผักบุ้งแดงต้มเอาน้ำดื่มเป็นประจำ
สรรพคุณ ของผักบุ้งช่วยในการขับสารพิษออกจากร่างกาย โดยเฉพาะผักบุ้งแดง ที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยกินกันเพราะมีรสเฝื่อน จึงนิยมนำไปกินกับส้มตำมะละกอ คนในเมืองที่ชีวิตต้องเผชิญกับมลพิษในอากาศ อาหาร ลองเอาผักบุ้งแดงมาทำเป็นชาไว้ดื่มเพื่อช่วยขับสารพิษจากร่างกายก็น่าจะ เหมาะไม่น้อย หรือใช้ผักบุ้งต้มอาบ หรืออบร่วมกับสมุนไพรตัวๆ ก็จะช่วยขับพิษออกทางรูขุมขน
ส่วนกรณีที่ใครท้องผูกเป็นประจำขับถ่ายไม่ออก แนะให้กินผักบุ้งสดหรือผักบุ้งลวก จิ้มกับน้ำพริก ในมื้อเย็น ส่วนน้ำต้มผักก็สามารถใช้ดื่มได้ ผักบุ้งจะช่วยให้อุจจาระนิ่ม และช่วยขับของเสียพร้อมดูดซับเอาของเสียนั้นออกมาพร้อมในกระบวนการขับถ่าย ด้วย กินผักบุ้งเป็นประจำจะช่วยปัดกวาดทำความสะอาดเอาของเสียที่ตกค้างในลำไส้ออก มาด้วย ช่วยให้การดูดซึมอาหารดีขึ้น
สรรพคุณส่วนต่างๆ ของผักบุ้ง คือ ราก ใช้ถอนพิษ แก้ผิดสำแดง แก้โรคตา แก้ตกขาวในสตรี
แก้ปวดฟันเนื่องจากฟันเป็นรู แก้ไอเรื้อรัง แก้เหงื่อออกมาก แก้บวม ถอนพิษ แก้พาเบื่อเมา ถอนพิษยาทั้งปวง แก้ตาฟาง แก้โรคตา ยอดอ่อน ถอนพิษ รักษาริดสีดวงทวาร แก้เด็กเป็นหวัด ใบ แก้พิษขนของบุ้ง รักษาริดสีดวงทวาร ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้ตาฟาง แก้พิษฝี ปวด อักเสบ ดอกตูม รักษากลากเกลื้อน ทั้งต้น รักษาตาแดง รักษาตาฟาง รักษาตามัว แก้เบาหวาน แก้ปวดศีรษะ แก้ผิวหนังผื่นคัน แก้กลากเกลื้อน เป็นยาระบาย แก้ไข้ แก้โรคนอนไม่หลับ ถอนพิษ แก้พิษเบื่อเมา
ตัวอย่างในการใช้ผักบุ้งรักษาโรคต่างๆ ได้แก่
- แก้เลือดกำเดาออกมากผิดปกติ ใช้ต้นสดตำผสมน้ำตาลทรายชงน้ำร้อนดื่ม
- แก้หนองใน ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด ใช้ลำต้นตำคั้นนำน้ำมาผสมกับน้ำผึ้งดื่ม
- แก้ริดสีดวงทวาร ใช้ต้นสด 1 กิโลกรัม กับน้ำ 1 ลิตร ต้มให้เละ เอากากทิ้งใส่น้ำตาลทรายขาว 120 กรัม เคี่ยวให้ข้นเหนียว ทานครั้งละ 90 กรัม วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น จนหาย
- แก้แผลมีหนองช้ำ ใช้ต้นสดต้มน้ำให้เดือดนานๆ ทิ้งไว้พออุ่นเอาน้ำล้างแผลวันละครั้ง
- แก้พิษตะขาบกัด ใช้ต้นสดเติมเกลือ ตำพอกแผล
- ฟันเป็นรูปวด ใช้รากสด 120 กรัม ผสมน้ำส้มสายชู คั้นนำน้ำอมบ้วนปาก
ข้อมูลอื่นๆ :
ดอก ใช้เป็นยาแก้กลากเกลื้อน ต้นสด ใช้ดับพิษ รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ลดอาการแพ้ อักเสบ ปวด บวม บำรุงสายตา บำรุงเลือด บำรุงกระดูกและฟัน ช่วยรักษาโรคเบาหวาน เป็นยาดับร้อน แก้ปัสสาวะเหลือง
ทั้งต้น ใช้แก้ปวดหัว อ่อนเพลีย แก้กลาก เกลื้อน แก้เบาหวาน แก้ตาอักเสบ บำรุงสายตา แก้เหงือกบวม แก้ฟกช้ำ ถอนพิษ
ใบ ใช้ถอนพิษแมลงสัตว์กัดต่อย นำใบสดตำ คั้นเอาน้ำมาดื่ม จะทำให้อาเจียน ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้พิษของฝิ่นและสารหนู มีวิตามินเอสูง เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
ราก ใช้แก้ไอเรื้อรัง และแก้โรคหืด ถอนพิษผิดสำแดง ใช้แก้สตรีมีตกขาวมาก เบาขัด เหงื่อออกมาก ลดอาการบวม
ในผักบุ้งขาว 100 กรัม ให้พลังงานต่อร่างกาย 22 กิโลแคลอรี่ และยังประกอบด้วยเส้นใย 101 กรัม แคลเซียม 3 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 22 มิลลิกรัม เหล็ก 3 มิลลิกรัม วิตามินเอ 11,447 IU วิตามินบีหนึ่ง 0.06 มิลลิกรัม วิตามินบีสอง 0.17 มิลลิกรัม ไนอาซิน 1.3 มิลลิกรัม วิตามินซี 14 มิลลิกรัม และมีสารต้านฮีสตามีน
ผักบุ้งไทยจะมีสรรพคุณทางยามากกว่าผักบุ้งชนิดอื่น ผักบุ้งจีนจะมีแคลเซี่ยม และเบต้า - แคโรทีน มากกว่าผักบุ้งชนิดอื่น
เอกสารอ้างอิง :
1. บทความวิทยุรายการสาระความรู้ทางการเกษตร เรื่อง พืชผักผลไม้ไทยมีคุณค่าเป็นทั้งอาหารและยา ประจำวันจันทร์ที่ 30 มิถุนายน 2546 ดวงจันทร์ เกรียงสุวรรณ นักวิชาการเกษตร 6 คณะทรัพยากรธรรมชาติ งานศูนย์บริการวิชาการและฝึกอบรม ผ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่2. http://www.yimwhan.com/board/show.php?user=kraimasphimol&topic=74&Cate=1
3. http://www.bloggang.com
4. Tem Samitinand. Thai Plant Names. Revised Edition 2001. 810 p.
รวบรวมโดย : นพพล เกตุประสาท หน่วยอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พืชพรรณ ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม
ที่มา...http://banya-thai.blogspot.com/2012/12/blog-post.html