12 ประโยชน์ของว่านหางจระเข้ ที่หมอไม่ได้บอก แนะนำปลูกไว้ในบ้านสักกระถางประโยชน์ล้นเหลือ
ว่างหางจระเข้ มีประโยชน์ทั้งต้น ถ้าใครปลูกไว้ใช้ ก็สามารถช่วงป้องกันโรคได้มากมาย มาดูกันเลยว่ามีอะไรบ้าง
1.ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
Aloetin เป็นสารต้านเชื้อแบคทีเรีย สามารถฆ่าเชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัสและเชื้อโรคอื่น ๆได้ มันสามารถยับยั้ง ระงับการพัฒนาและการสืบพันธุ์ของโรค
2. ต่อต้านการอักเสบ
ว่านหางจระเข้มี bradykinin ซึ่งมีบทบาทในการต่อต้านการอักเสบของหลอดเลือด และยังมี polysaccharides สามารถเพิ่มความต้านทานต่อโรคของร่างกาย รักษาโรคผิวหนังอักเสบ ไตอักเสบเรื้อรัง กระเพาะปัสสาวะอักเสบ หลอดลมอักเสบ และโรคเรื้อรังอื่น ๆ
3. เพิ่มความชุ่มชื่นให้ผิว
ในว่านหางจระเข้มี polysaccharides และวิตามินที่เป็นอาหารที่ดีของผิว ช่วยให้ผิวชุ่มชื่น และขาวใส โดยเฉพาะปัญหาสิวของสาวๆวัยรุ่น ว่านหางจระเข้ก็มีประสิทธิภาพในการกำจัดสิวอย่างดี
Aloe emodin และสาร anthraquinone glycosides อื่น ๆในว่านหางจระเข้ช่วยทำให้เส้นผมนุ่มเงา เบาสบายและป้องกันรังแค
4. ช่วยให้กระเพาะอาหารทำงานน้อยลง
ในว่านหางจระเข้มี aloin, emodin, และสารสำคัญอื่นๆที่ช่วยให้อยากอาหาร ผ่อนคลายลำไส้ใหญ่ การรับประทานว่านหางจระเข้ในปริมาณที่เหมาะสม สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของกระเพาะอาหาร ประสิทธิภาพของร่างกาย เพราะงั้นสำหรับผู้ป่วยที่เบื่ออาหาร การรับประทานว่านหางจระเข้จะช่วยให้กลับมาอยากอาหารขึ้น
5. หัวใจแข็งแรงและการไหลเวียนโลหิตดี
Calcium isocitrate ในว่านหางจระเข้ทำให้หัวใจแข็งแรง ระบบหมุนเวียนโลหิตทำงานดีขึ้น เส้นเลือดแดงนิ่มลง ลดระดับคลอเรสเตอรอล เส้นเลือดฝอยขยายตัว ลดภาระของหัวใจ ความดันโลหิตเป็นปรกติ ขับสารพิษออกจากเลือด
6. สร้างภูมิคุ้มกันร่างกาย
Aloein A, Traumatic hormone, Polyglyceride nectar (Ke-2) มีฤทธิ์ต้านไวรัส ช่วยรักษาแผล ต้านการอักเสบ ลดบวม ทำให้ผิวนิ่ม ทำให้เซลล์มีชีวิตชีวา เจล polysaccharide และ Callus acid ช่วยรักษาบาดแผล ดังนั้นมันจึงช่วยรักษาแผลให้ไม่มีแผลเป็น ไม่ว่าจะเป็นแผลมีเลือดออกหรือไม่มีก็ตาม
7. สร้างภูมิคุ้มกันและต้านทานการเกิดเนื้องอก
สารที่มีความหนืดในว่านหางจระเข้ polysaccharides (acetylated glucomannan, mannan, acetylated mannan, aloe mannan, alocutin, alomicin ฯลฯ ) มีผลต่อการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและยับยั้งการเจริญของเซลล์ผิดปกติ เพิ่มความต้านทานโรคให้ร่างกาย
8. ล้างพิษ
ว่านหางจระเข้สามารถยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่มากเกินไป เพิ่มบทบาทของฟังก์ชัน phagocytic phagocytic ช่วยให้ร่างกายขับพิษผ่านการเผาผลาญ aloetin alomicin และสารอื่น ๆในว่านหางจระเข้ มีบทบาทในการส่งเสริมการสลายตัวของสารที่เป็นอันตรายในตับ และยังช่วยลดการบุกรุกทางชีวภาพของสารพิษ
9. แก้ปวด กดประสาท
การศึกษาทางเภสัชวิทยาสมัยใหม่ได้แสดงให้เห็นว่าว่านหางจระเข้สดมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ต้านการอักเสบ และแก้ปวด ว่านหางจระเข้ยังช่วยปกป้องเซลล์และเพิ่มภูมิคุ้มกัน
10. ป้องกันแสงแดด
วลาอากาศร้อน ทาว่านหางจระเข้บนผิวจะช่วยป้องการแสงแดดได้ ถ้าโดนแดดเผา เอาว่านหางจระเข้ทาก็จะบรรเทาความเจ็บปวดได้เช่นกัน
11. กันแมลง
น้ำว่านหางจระเข้มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรค ทาน้ำว่านหางจระเข้ในหน้าร้อนช่วยกันยุงได้ ชาวโคลัมเบียมักทาน้ำว่านหางจระเข้บริเวณเท้าเด็กๆ เพื่อป้องกันแมลง นำน้ำว่านหางจระเข้ไปทาบริเวณขอบประตูหน้าต่าง แมลงวันจะไม่เข้าบ้าน
12. ช่วยระงับกลิ่น
ว่านหางจระเข้ช่วยระงับกลิ่นเหม็นของเท้า รักแร้ ปาก ใช้ว่านหางจระเข้ทาบริเวณเหล่านี้ช่วยป้องกันการเกิดกลิ่นตัวได้
ที่มา...http://sara1000update.com/4638
ว่างหางจระเข้ มีประโยชน์ทั้งต้น ถ้าใครปลูกไว้ใช้ ก็สามารถช่วงป้องกันโรคได้มากมาย มาดูกันเลยว่ามีอะไรบ้าง
1.ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
Aloetin เป็นสารต้านเชื้อแบคทีเรีย สามารถฆ่าเชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัสและเชื้อโรคอื่น ๆได้ มันสามารถยับยั้ง ระงับการพัฒนาและการสืบพันธุ์ของโรค
2. ต่อต้านการอักเสบ
ว่านหางจระเข้มี bradykinin ซึ่งมีบทบาทในการต่อต้านการอักเสบของหลอดเลือด และยังมี polysaccharides สามารถเพิ่มความต้านทานต่อโรคของร่างกาย รักษาโรคผิวหนังอักเสบ ไตอักเสบเรื้อรัง กระเพาะปัสสาวะอักเสบ หลอดลมอักเสบ และโรคเรื้อรังอื่น ๆ
3. เพิ่มความชุ่มชื่นให้ผิว
ในว่านหางจระเข้มี polysaccharides และวิตามินที่เป็นอาหารที่ดีของผิว ช่วยให้ผิวชุ่มชื่น และขาวใส โดยเฉพาะปัญหาสิวของสาวๆวัยรุ่น ว่านหางจระเข้ก็มีประสิทธิภาพในการกำจัดสิวอย่างดี
Aloe emodin และสาร anthraquinone glycosides อื่น ๆในว่านหางจระเข้ช่วยทำให้เส้นผมนุ่มเงา เบาสบายและป้องกันรังแค
4. ช่วยให้กระเพาะอาหารทำงานน้อยลง
ในว่านหางจระเข้มี aloin, emodin, และสารสำคัญอื่นๆที่ช่วยให้อยากอาหาร ผ่อนคลายลำไส้ใหญ่ การรับประทานว่านหางจระเข้ในปริมาณที่เหมาะสม สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของกระเพาะอาหาร ประสิทธิภาพของร่างกาย เพราะงั้นสำหรับผู้ป่วยที่เบื่ออาหาร การรับประทานว่านหางจระเข้จะช่วยให้กลับมาอยากอาหารขึ้น
5. หัวใจแข็งแรงและการไหลเวียนโลหิตดี
Calcium isocitrate ในว่านหางจระเข้ทำให้หัวใจแข็งแรง ระบบหมุนเวียนโลหิตทำงานดีขึ้น เส้นเลือดแดงนิ่มลง ลดระดับคลอเรสเตอรอล เส้นเลือดฝอยขยายตัว ลดภาระของหัวใจ ความดันโลหิตเป็นปรกติ ขับสารพิษออกจากเลือด
6. สร้างภูมิคุ้มกันร่างกาย
Aloein A, Traumatic hormone, Polyglyceride nectar (Ke-2) มีฤทธิ์ต้านไวรัส ช่วยรักษาแผล ต้านการอักเสบ ลดบวม ทำให้ผิวนิ่ม ทำให้เซลล์มีชีวิตชีวา เจล polysaccharide และ Callus acid ช่วยรักษาบาดแผล ดังนั้นมันจึงช่วยรักษาแผลให้ไม่มีแผลเป็น ไม่ว่าจะเป็นแผลมีเลือดออกหรือไม่มีก็ตาม
7. สร้างภูมิคุ้มกันและต้านทานการเกิดเนื้องอก
สารที่มีความหนืดในว่านหางจระเข้ polysaccharides (acetylated glucomannan, mannan, acetylated mannan, aloe mannan, alocutin, alomicin ฯลฯ ) มีผลต่อการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและยับยั้งการเจริญของเซลล์ผิดปกติ เพิ่มความต้านทานโรคให้ร่างกาย
8. ล้างพิษ
ว่านหางจระเข้สามารถยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่มากเกินไป เพิ่มบทบาทของฟังก์ชัน phagocytic phagocytic ช่วยให้ร่างกายขับพิษผ่านการเผาผลาญ aloetin alomicin และสารอื่น ๆในว่านหางจระเข้ มีบทบาทในการส่งเสริมการสลายตัวของสารที่เป็นอันตรายในตับ และยังช่วยลดการบุกรุกทางชีวภาพของสารพิษ
9. แก้ปวด กดประสาท
การศึกษาทางเภสัชวิทยาสมัยใหม่ได้แสดงให้เห็นว่าว่านหางจระเข้สดมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ต้านการอักเสบ และแก้ปวด ว่านหางจระเข้ยังช่วยปกป้องเซลล์และเพิ่มภูมิคุ้มกัน
10. ป้องกันแสงแดด
วลาอากาศร้อน ทาว่านหางจระเข้บนผิวจะช่วยป้องการแสงแดดได้ ถ้าโดนแดดเผา เอาว่านหางจระเข้ทาก็จะบรรเทาความเจ็บปวดได้เช่นกัน
11. กันแมลง
น้ำว่านหางจระเข้มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรค ทาน้ำว่านหางจระเข้ในหน้าร้อนช่วยกันยุงได้ ชาวโคลัมเบียมักทาน้ำว่านหางจระเข้บริเวณเท้าเด็กๆ เพื่อป้องกันแมลง นำน้ำว่านหางจระเข้ไปทาบริเวณขอบประตูหน้าต่าง แมลงวันจะไม่เข้าบ้าน
12. ช่วยระงับกลิ่น
ว่านหางจระเข้ช่วยระงับกลิ่นเหม็นของเท้า รักแร้ ปาก ใช้ว่านหางจระเข้ทาบริเวณเหล่านี้ช่วยป้องกันการเกิดกลิ่นตัวได้
ที่มา...http://sara1000update.com/4638